คำค้นยอดฮิต: ข้าวเหนียวมะม่วง ของขวัญออแกนิค ผลไม้สด
TH | EN
฿ 0.00
สวนเกษตรลุงฮุย บ้านดินริมคลอง
สวนเกษตรลุงฮุย บ้านดินริมคลอง หมู่4 ตำบลสระแก้ว อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร
Image
Image
Image
Image
สภาพอากาศวันนี้
เปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด
หยาดเหงื่อของลุงฮุยได้ทิ้งไว้ให้ลูกหลานและผู้สนใจได้ชื่นชมและศึกษาเล่าเรียน"สวนเกษตรลุงฮุย” จึงเป็นแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร และสถานที่พักผ่อนเชิงธรรมชาติ ที่มีทั้งบ้านไม้สักกลางสวนและบ้านดินริมคลอง
ประวัติความเป็นมา
พลิกตำนานเกษตรผสมผสาน...เมืองกล้วยไข่ กว่า 40 ปีที่ "นายฮุย จันทร์เจริญ” ผู้ที่สร้างหลักปักฐานด้วยการลงมือปลูกผลไม้จากเมืองจันทบุรี แม้จะมีคำทักท้วงว่าเป็นคนบ้าที่เอาไม้ผลจากภาคตะวันออกมาปลูก ซึ่งในกำแพงเพชรขณะนั้นยังไม่มี
ลักษณะเด่น
เป็นสวนเกษตรผสมผสาน ทั้งเงาะ ทุเรียน ลองกอง มังคุด มะไฟ ไม่ใช้สารเคมี กลายเป็นตำนานและมรดกตกทอดให้ลูกหลานได้สืบสานต่อไป
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
สวนปาหนัน มีผลไม้ปลูกมากมายหลากหลายชนิดที่นี่ปลูกทั้งเงาะ มังคุด ลองกอง ทุเรียน โดยค่าใช้จ่ายในการมาเที่ยวสวนปาหนันช่วงเดือน พ.ค. - มิ.ย. ซึ่งเป็นช่วงที่มีผลไม้เต็มสวน จากนี้ที่นี่ยังมีบริการที่พักในสวนผลไม้ด้ว
ระยอง
ขายอินทผลัมผลสด,แห้ง ขายต้นพันธ์(เนื้อเยื่อ) รับปลูก,ระบบน้ำอัตโนมัติ รับทำสวนทั้งระบบ
อุบลราชธานี
เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร แหล่งเรียนรู้การลดต้นทุนการผลิตสูง จากการใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีมาก ทำให้สุขภาพทรุดโทรม เกิดโรคภัยกับชีวิตมนุษย์ จึงปรับเปลี่ยนแนวคิดปรับปรุงคุณภาพผลผลิต และลดต้นทุนการผลิตโดยการป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน
ชัยนาท
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมาเป็นเวลานาน ก่อนคำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (BIOLOAGICAL DIVERSITY)”และอนุรักษ์ (COUSERVATION) จะเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย จากการเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปี พ.ศ. 2503 เมื่อเสด็จผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทอดพระเนตรเห็น ต้นยางนาขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมาก ทรงมีพระราชทานให้เก็บเมล็ดพันธุ์ยางนาไปเพาะที่ตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน และนำต้นยางนาที่เพาะได้ นำมาปลูก ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ทรงมีพระราชทานพระราชดำริให้ทำการอนุรักษ์ต้นขนุนในพระบรมมหาราชวัง และได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พรรณไม้ ในพระราชวังต่างๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ทรงมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หวายรวมทั้งดำเนินการจัดสร้างสวนสมุนไพรในโครงการสวนพระองค์ ฯ สวนจิตรลดา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามพระบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยทรงมีพระราชดำริกับท่านเลขาธิการพระราชวัง ให้มีการดำเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ ในเดือน มิถุนายน 2535 ซึ่งมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้จัดสร้างธนาคารพืชพรรณสำหรับเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรวมทั้งการศึกษาที่มิใช่พืชเศรษฐกิจให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยนำพระราชดำริ มาเป็นกรอบในการดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายสุจินต์ ภูนิคม กำนันตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และคณะได้ประสานงานหารือกับผู้อำนวยการบริษัทอุลตร้าโปรดักส์ จำกัด และเกษตรกรจังหวัดชุมพรในการนำพื้นที่สาธารณะประโยชน์ซึ่งตั้ง ณ หมู่ที่ 6 ตำบลสลุย (ปัจจุบัน หมู่ที่ 5,6 ตำบลสลุย และ หมู่ที่ 4 ,7 ตำบลสองพี่น้อง) เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ซึ่งขณะนั้น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาก็กำลังจัดหาพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาทางโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยศาสตราจารย์พิเศษประชิด วามานนท์ (ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์) พร้อมคณะได้เดินทางมาพบผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายประยูร พรหมพันธุ์) เพื่อปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการโดยใน ระยะ 5 ปี แรกได้ใช้ ชื่อโครงการว่า “โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณไม้ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร” โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จึงได้ทำโครงการเสนอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรและได้จัดส่งเอกสารโครงการไปยังผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อโปรดนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองพระบาทในโอกาสอันสมควรและทางโครงการส่วนพระองค์ได้แจ้งตอบรับ เรื่องการนำโครงการอนุรักษ์พันธุไม้และพิพัฒน์พรรณพืชฯ จังหวัดชุมพร ทราบฝ่าละอองพระบาท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2536 และในการดำเนินโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ผนวกโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และพิพัฒน์พรรณพืชของจังหวัดชุมพร เข้ากับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริในส่วนกลางมีดร.พิศิษฐ์ วรอุไร เป็นประธานคณะกรรมการ และจากการประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 ที่ประชุมมีมติเปลี่ยนชื่อโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร เป็นชื่อ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
ชุมพร
ชม ชิม เช็คอิน บรรยากาศสวนสละ เรียนรู้การเขี่ยดอกสละ จำหน่ายสละและผลิตภัณฑ์แปรรูป
ระยอง
ทุ่งดอกไม้แห่งใหม่ที่สวยงามไม่แพ้กับที่จังหวัดเชียงใหม่เลย ที่ไร่เมล๋อน ชากังราวจังหวัดกำแพงเพชรสวนดอกไม้เปิดใหม่ที่ตำบลเขาคีรีส อำเภอพรานกระต่าย ซึ่งกำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจากนักท่องเที่ยว
กำแพงเพชร
บ้านสวนขวัญจังหวัดลพบุรี อยู่ที่ตำบลมหาสอน อำเภอบ้านหมี่ เรียนรู้วิถีชุมชนบ้านมหาสอน ชุมชนที่อยู่ติดลุ่มน้ำบางขาม เป็นแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์ทิวทัศน์สวยงามสงบเหมาะแก่การพักผ่อน และในอดีตมีฉายาว่าอู่ข้าว ซึ่งเป็นพื้นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การปลูกข้าวจึงทำให้ข้าวที่เพาะปลูกบริเวณนี้มีคุณภาพที่ดี ทั้งยังมีประวัติศาสตร์ยาวนานมากกว่าพันปีในยุคทราวดีต้นกำเนินธิดาเมืองละโว้ พระนางจามเทวี และ เรียนรู้การพึ่งตนเองน้อมนำศาสตร์พระราชา ทั้งยังมีอาหารพื้นบ้านและผลผลิตทางการเกษตรสด ๆ ปลอดภัยไร้สารเคมีมาให้นักท่องเที่ยวได้ชิมและซื้อกลับ สัมผัสการท่องเที่ยวภูมิปัญญาและวิถีชุมชนโดยการนั่งรถอีแต๋น และ ทำกิจกรรมพึ่งตนเองที่ฟาร์ม ล่องแพไม้ไผ่ยามเย็นสัมผัสวิถีคนลุ่มน้ำ บางเวลา ณ. บางขาม โปรแกรมการท่องเที่ยว - บ้านสวนขวัญ เรียนรู้การพึ่งพาตนเองด้วยศาสตร์พระราชา,การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามแดง,พิพิธภัณฑ์โรงสีข้าว,การทำพิซซ่าเตาถ่าน,แช่มือ แช่เท้า ด้วยสมุนไพร จากภูมิปัญญาของชุมชน,ทำขนมไทย,ล่องแพเปียก              - นั่งอีแต๋น ชมวิถีชุมชน เรียนรู้การสานตะกร้าหวาย,การทำแคปหมู,การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด,การทำผลิตภัณฑ์ จากผักตบชวา,ชมบ้านไทยโบราณ,ชมวิถีชาวนาไทย,การดำนา,การเกี่ยวข้าว เส้นทางเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ (พร้อมระยะทาง/กม.) - วัลลภาฟาร์ม ต.เขาพระงาม อ.เมือง  จ.ลพบุรี ระยะทาง 35 กม.                           - บ้านดินมดแดง  ต.โคกตูม อ.เมือง จ.ลพบุรี ระยะทาง 65 กม.                           - กลุ่มชาติพันธ์  ต.บ้านทราย อ.บ้านหมี่  จ.ลพบุรี ระยะทาง 15  กม.                           - ผลิตภัณฑ์ขนมไทย    ต.ทองเอน อ.อินทร์บุรี   จ.สิงห์บุรี ระยะทาง 25  กม. สินค้าวิสาหกิจชุมชนในชุมชน  -ไข่เค็ม พอกด้วยดินสอพอง+ใบเตย,แคปหมู,น้ำพริกแดง,น้ำพริกขี้กา,ผลิตผลทางการ  เกษตรตามฤดูกาล,ตะกร้าหวาย สินค้า OTOP
ลพบุรี
ครูสมใจ บอกว่า ลิงก็เหมือนเด็กที่ซน ต้องสอนจากง่ายไปหายาก โดยจัดหลักสูตรดังนี้ เดือนที่ 1 ใช้มือ เดือนที่ 2 ใช้เท้า เดือนที่ 3 ท่ายืน ท่ากระโดด เดือนที่ 4 ไต่ราว เดือนที่ 5 ขึ้นต้น เดือนที่ 6 ฝึกงาน ฯลฯ ต้องสอนตัวต่อตัว ใช้สื่อกันด้วยสายตา และหัวใจ จนเชื่อใจและไว้วางใจกันฉันท์พี่น้อง
สุราษฎร์ธานี
บรรยากาศภายในวัดร่มรื่น ทางเข้าโบสถ์เพื่อเข้าไปสักการะพระพุทธรูป เป็นซุ้มปรตูตกแต่งสวยงาม โดยด้านบนคือพระราหูอมจันทร์ อีกทั้งมีพญาต่อยักษ์ ให้เข้าไปกราบไหว้ขอโชคลาภ เชื่อว่าช่วยต่อเงิน ต่อทอง เมื่อสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์เรียบร้อย สามารถเดินทางไปเที่ยวน้ำตกเอราวัณต่อได้ เนื่องจากวัดวังจาน อยู่ก่อนถึงน้ำตกเอราวัณ
กาญจนบุรี
1. สวนมณีทิพ สวนผลไม้ผสมผสาน เช่น ขนุน ส้มโอ ทุรียน ฯลฯ ที่อยู่ 784/3 หมู่ที่ 7 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 081-2803176 2. สวนศรปัก ดอกหน้าวัว ไม้ดอก ไม้ประดับ ที่อยู่ 255 หมู่ที่ 10 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 081-9727449 3. ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดไผ่ใหญ่ไพรญาราม ที่ตั้ง หมู่ที่ 10 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง 4.น้ำตกไผ่สีทอง ที่ตั้ง หมู่ที่ 13 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง 5. ฟาร์มกวางแดง RED DEER FARM เลี้ยงกวางดาว กวางรูซ่า และกวางแดง พร้อมจำหน่ายเนื้อกวาง และผลิตภัณฑ์จากกวาง ที่อยู่ 568/3 หมู่ที่ 10 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 095-5322207 6.สวนเกษตรไพบูลย์ ศูนย์เรียนรู้การเกษตร ไม้ผลผสมผสาน เช่น มะขามเปรี้ยวยักษ์ มะม่วง มะยงชิด อินทผลัม ฯลฯ และที่พัก ที่อยู่ 3/1 หมู่ที่ 9 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 089-6421461 087-3109216 7. สวนโพธิ์ทอง สวนผลไม้ผสมผสาน เช่น ลำไย ขนุน มะม่วง มะนาว ฯลฯ และจำหน่ายพันธุ์ไม้ผล ที่อยู่ 284 หมู่ที่ 9 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 089-0112741 8.กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรซำตะเคียน ผลิตภัณฑ์แปรรูปผลผลิตการเกษตร ไม้ผล พืชผัก ที่พัก และอาหาร ที่อยู่ 285/1 หมู่ที่ 9 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 081-4744310 9. สมพลการ์เดนท์ สวนผลไม้ผสมผสาน เช่น มังคุด เงาะ ลำไย มะไฟ ฯลฯ ที่อยู่ 304 หมู่ที่ 9 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 081-1359777 10. ภักดีฟาร์ม เลี้ยงกวาง พร้อมจำหน่ายเนื้อ และผลิตภัณฑ์จากกวาง ที่อยู่ หมู่ที่ 9 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 081-8452993 11. บ่อคาการ์เดนท์ ผักปลอดภัยจากสารพิษ ที่อยู่ 148 หมู่ที่ 9 ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง โทร. 094-6265551 12. บ้านและสวนพูพูน สวนมะยงชิด ที่พักและอาหาร ที่อยู่ 43/2 หมู่ที่ 9 ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง โทร. 081-9737839 13. สวนหลงรักไทย สวนทุเรียนหลงรักไทย พร้อมจำหน่ายกิ่งพันธุ์ ที่อยู่ 10/2 หมู่ที่ 9 ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง โทร. 083-3333316 14. สวนพงษ์แตง สวนลำไย ที่พัก และอาหาร ที่อยู่ 437 หมู่ที่ 7 ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง โทร. 081-9917073 โปรแกรมการท่องเที่ยว : 2 วัน 1 คืน เยี่ยมชมและชิมผลไม้ตามฤดูกาล รสเด็ด หวาน หอม สด ๆ จากสวนของสมาชิกกลุ่ม เพลิดเพลินกับการ “ชมพระอาทิตย์ตกดิน” ที่มีคำล่ำลือว่าสวยที่สุด ณ บ้านชำตาเจียม Check-in เข้าสู่ที่พักแบบ “บ้านพักในสวน” สัมผัสวิถีชีวิตชาวสวน พร้อมชมศูนย์การเรียนรู้บัวสวรรค์ หมู่ที่ 10 บ้านวังนกแอ่น รับประทานอาหารเย็นทีบ้านซำตาเจียม ชม พร้อม“พญาหิ่งห้อย” ที่พร้อมเรืองแสงต้อนรับทุกท่าน พักผ่อนตามอัธยาศัย รับประทานอาหารเช้าที่ที่พัก เยี่ยมชมวิธีการเลี้ยงกวางของคนท้องถิ่น “ฟาร์มกวาง” , เดินศึกษาเส้นทางธรรมชาติพร้อมเล่นน้ำที่ “น้ำตกไผ่สีทอง” และชมวิธีการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรที่บ้านซำตะเคียน พร้อมซื้อของฝากจากชาวสวน เส้นทางเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ : -ห่างจากน้ำตกไผ่สีทอง ระยะทาง 5 กม. -ห่างจากทุ่งโนนสน ระยะทาง 20 กม.
พิษณุโลก
ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วยสุพรรณบุรี เป็นวิสาหกิจชุมชนเกษตรพอเพียง อนุรักษ์พันธุ์กล้วยหายากในประเทศไทย ได้รวมสายพันธุ์กล้วยมากมายถึง 108 ชนิด โดยเฉพาะของสุพรรณบุรีเอง
สุพรรณบุรี
สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงการเกษตร บริเวณภายในมีการตกแต่งและจัดสวนไว้อย่างสวยงาม เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวในการเข้าไปเที่ยวชมการเพาะปลูกพืชพรรณ ไม้ดอกเมืองหนาวต่างๆ มากมาย เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็น โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวที่จะมีนักท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากมายขึ้นไปเที่ยวดอยอ่างขางและมักจะแวะเข้าไปท่องเที่ยวยังศูนย์เกษตรฯ แห่งนี้ด้วย
เชียงใหม่