คำค้นยอดฮิต: ข้าวเหนียวมะม่วง ของขวัญออแกนิค ผลไม้สด
TH | EN
฿ 0.00
ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเกษตรช้างกลาง (เรือนผักกูด)
ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเกษตรช้างกลาง (เรือนผักกูด) หมู่14 ตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
Image
Image
Image
Image
สภาพอากาศวันนี้
เปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด
เรือนผักกูดเเป็นที่ตั้งของชมรมท่องเที่ยวเกษตรช้างกลาง เป็นศูนย์ประสานงานแหล่งท่องเที่ยวเกษตรและเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวเกษตรในกิ่งอำเภอช้างกลาง มีห้องประชุม ห้องพักและลานกิจกรรมไว้บริการ
ประวัติความเป็นมา
ศูนย์ท่องเที่ยวเกษตรช้างกลาง ประกอบด้วย ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ที่พัก ร้านอาหารพืชสมุนไพร สวนวีรา ฟลอร่า ผลิตและจำหน่าย หน้าวัว พันธุ์จากฮอลแลนด์ ของนายสุรเซษฐ วีระพงศ์ สวนเกษตรผสมผสานและการเลี้ยงผึ้งโพรง (ทุเรียน ลางสาด มังคุด 100 ปี) นายราย พรหมชาติ สวนทุเรียนปลอดภัยจากสารพิษ และจุดชมวิวของนายเรวัฒน์ ปรีชาวัย
ลักษณะเด่น
- การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ชุมชนคนรักเห็ด,ชุมชนคนเลี้ยงผัก
- ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพ
- เป็นแหล่งท่องเที่ยวศึกษาเรียนรู้การประกอบอาชีพการเกษตร
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมาเป็นเวลานาน ก่อนคำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (BIOLOAGICAL DIVERSITY)”และอนุรักษ์ (COUSERVATION) จะเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย จากการเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปี พ.ศ. 2503 เมื่อเสด็จผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทอดพระเนตรเห็น ต้นยางนาขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมาก ทรงมีพระราชทานให้เก็บเมล็ดพันธุ์ยางนาไปเพาะที่ตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน และนำต้นยางนาที่เพาะได้ นำมาปลูก ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ทรงมีพระราชทานพระราชดำริให้ทำการอนุรักษ์ต้นขนุนในพระบรมมหาราชวัง และได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พรรณไม้ ในพระราชวังต่างๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ทรงมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หวายรวมทั้งดำเนินการจัดสร้างสวนสมุนไพรในโครงการสวนพระองค์ ฯ สวนจิตรลดา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามพระบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยทรงมีพระราชดำริกับท่านเลขาธิการพระราชวัง ให้มีการดำเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ ในเดือน มิถุนายน 2535 ซึ่งมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้จัดสร้างธนาคารพืชพรรณสำหรับเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรวมทั้งการศึกษาที่มิใช่พืชเศรษฐกิจให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยนำพระราชดำริ มาเป็นกรอบในการดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายสุจินต์ ภูนิคม กำนันตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และคณะได้ประสานงานหารือกับผู้อำนวยการบริษัทอุลตร้าโปรดักส์ จำกัด และเกษตรกรจังหวัดชุมพรในการนำพื้นที่สาธารณะประโยชน์ซึ่งตั้ง ณ หมู่ที่ 6 ตำบลสลุย (ปัจจุบัน หมู่ที่ 5,6 ตำบลสลุย และ หมู่ที่ 4 ,7 ตำบลสองพี่น้อง) เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ซึ่งขณะนั้น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาก็กำลังจัดหาพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาทางโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยศาสตราจารย์พิเศษประชิด วามานนท์ (ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์) พร้อมคณะได้เดินทางมาพบผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายประยูร พรหมพันธุ์) เพื่อปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการโดยใน ระยะ 5 ปี แรกได้ใช้ ชื่อโครงการว่า “โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณไม้ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร” โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จึงได้ทำโครงการเสนอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรและได้จัดส่งเอกสารโครงการไปยังผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อโปรดนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองพระบาทในโอกาสอันสมควรและทางโครงการส่วนพระองค์ได้แจ้งตอบรับ เรื่องการนำโครงการอนุรักษ์พันธุไม้และพิพัฒน์พรรณพืชฯ จังหวัดชุมพร ทราบฝ่าละอองพระบาท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2536 และในการดำเนินโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ผนวกโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และพิพัฒน์พรรณพืชของจังหวัดชุมพร เข้ากับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริในส่วนกลางมีดร.พิศิษฐ์ วรอุไร เป็นประธานคณะกรรมการ และจากการประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 ที่ประชุมมีมติเปลี่ยนชื่อโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร เป็นชื่อ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
ชุมพร
โครงการหมู่บ้านเกษตรกรรมหนองหว้า เป็นโครงการที่รเริ่มดำเนินการโดยเครือเจริญโภคภัณฑ์ ซึ่งได้รับความร่วมมือสนับสนุนจาดส่วนราชการ อำเภอพนมสารคาม และธนาคารกรุงเทพ จำกัด เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นมา เพื่่อช่วยเหลือเกษตรที่มีฐานะยากจน ไม่มีที่ทำกินเป็นของตนเอง ให้มีโอกาสได้ประกอบอาชีพการเลี้ยงสัตว์ ควบคู้ไปกับเพราะปลูก การดำเนินงานของโครงการ จัดเป็นระบบเบ็ดเสร็จครบวงจร เพื่อให้การพัฒนาอาชีพของกระเกษตรกรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ฉะเชิงเทรา
สถานีทดลองเกษตรที่สูงภูเรือที่ผ่านมา คือ การทดสอบพันธุ์ไม้ผลเมืองหนาวสำหรับปลูกในพื้นที่สูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งได้แก่ พันธุ์แอปเปิล พันธุ์ท้อสำหรับรับประทานสด และพันนอกจากนี้สถานีทดลองเกษตรที่สูงภูเรือยังได้มีความพยายามที่จะทำการรวบรวมและศึกษาพันธุ์องุ่นสำหรับทำไวน์ รวมทั้งองุ่นสำหรับรับประทานสด เพื่อพัฒนาพันธุ์และส่งเสริมให้เกษตรกรในจังหวัดเลยทำการปลูกต่อไปอีกด้วย
เลย
ไร่สุขถวิล อินทผลัมเมืองช้าง 164 หมู่ 5 ตำบลหนองระฆัง อำเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ 32160
สุรินทร์
ฟาร์มสายทอง ภายในฟาร์มปลูกพันธุ์ไม้หลากหลาย เช่น สวนมัลเบอร์รี่, เสาวรส, หมามุ่ยอินเดีย ฯลฯ พิกัด : https://goo.gl/maps/8TVTF7aQG5gtMS1fA
สระบุรี
บุฟเฟต์ผลไม้ ปันจักรยานและนั่งรถไถชมสวนผลไม้ จำหน่ายผลไม้คุณภาพ แและผลิตภัณฑ์แปรรูป ของฝาก
ระยอง
บรรยากาศภายในวัดร่มรื่น ทางเข้าโบสถ์เพื่อเข้าไปสักการะพระพุทธรูป เป็นซุ้มปรตูตกแต่งสวยงาม โดยด้านบนคือพระราหูอมจันทร์ อีกทั้งมีพญาต่อยักษ์ ให้เข้าไปกราบไหว้ขอโชคลาภ เชื่อว่าช่วยต่อเงิน ต่อทอง เมื่อสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์เรียบร้อย สามารถเดินทางไปเที่ยวน้ำตกเอราวัณต่อได้ เนื่องจากวัดวังจาน อยู่ก่อนถึงน้ำตกเอราวัณ
กาญจนบุรี
เรือนจำชั่วคราวดอยฮาง สังกัดเรือนจำกลางเชียงราย ดำเนินการตามโครงการในพระราชดำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ในการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในเรือนจำ เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปใช้ได้จริงภายหลังพ้นโทษ เป็นการสร้างกำลังใจให้กับผู้ต้องขังและยังทำให้ผู้ต้องขังได้มีโอกาสในการกลับคืนสู่สังคม โดยมีทักษะที่สามารถดำรงชีวิตที่พึ่งตนเองได้ไม่หวนกลับไปกระทำผิดอีก ในปัจจุบัน เรือนจำชั่วคราวดอยฮาง เป็นศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เปิดให้บริการเข้าเยี่ยมชมการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และเป็นจุด Check in ที่สำคัญของนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปที่เข้ามาใช้บริการ
เชียงราย
เป็นสวนผลไม้ที่มีความสวยงามในสภาพพื้นที่ ความร่มรื่น ความเป็นเอกลักษณ์ในรสชาติของผลไม้ไม่ว่าจะเป็นทุเรียน เงาะ มังคุด ลองกอง ที่เจ้าของสวนเน้นย้ำเป็นหนักหนาว่าที่นี่แหละผลไม้คุณภาพ กินได้ทุกลูก เรียกว่าปลอดภัยในระดับ GAP โดยนำระบบการทำการเกษตรที่ดีมีคุณภาพ เข้ามาใช้ในการผลิต ซึ่งระบบ GAP นี้เองช่วยให้ผลผลิตมีคุณภาพมากขึ้น และปลอดภัยต่อผู้บริโภครวมทั้งตัวเกษตรกรเอง เพราะระบบ GAP มีการควบคุมการใช้สารเคมีให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค เพราะฉะนั้นผู้บริโภคหรือนักท่องเที่ยวสบายใจได้ว่าปลอดภัยหายห่วง
ระยอง
อิ่มหนำสำราญใจไปกับบุฟเฟต์ผลไม้ตามฤดูกาล อาทิ ทุเรียน เงาะ มังคุด พร้อมอาหารพื้นบ้านไว้คอยบริการ
ระยอง
จักสานพลาสติก เป็นศิลปะการจักสานที่มีลวดลายสวยงาม การออกแบบ สีสันของเส้นพลาสติก ลวดลายต่าง ๆตามความต้องการของลูกค้า มีความละเอียดประณีต เรียบร้อย ได้มาตรฐาน คงทน สมประโยชน์ ราคาไม่แพง มีการพัฒนารูปแบบทันสมัยอย่างต่อเนื่องและเป็นสากล แต่กระบวนการผลิตยังใช้แบบดั่งเดิม ทำให้มองเห็นคุณค่าและแสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจของคนบ้านพราน เป็นผลงานจากการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่ประสานภูมิปัญญาของคนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่ ให้เข้ากันได้อย่างลงตัวและเหมาะสม
อ่างทอง
แหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรอินทรีย์ มีทั้งที่พัก กิจกรรม คอร์สเรียนรู้ทางด้านการเกษตรและอาหารเป็นยา
เชียงราย