คำค้นยอดฮิต: ข้าวเหนียวมะม่วง ของขวัญออแกนิค ผลไม้สด
TH | EN
฿ 0.00
สวนกล้วยไม้ลุงหงวน
สวนกล้วยไม้ลุงหงวน ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
Image
Image
Image
Image
สภาพอากาศวันนี้
เปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด

ประวัติความเป็นมา
แต่เดิมพื้นที่สวนแห่งนี้ เป็นไร่อ้อย ของ นายกวง และ นางจำนงค์ ตั้งสากล ซึ่งเป็นบิดา – มารดา ของ คุณ สงวนศักดิ์ ตั้งสากล มาก่อน ในปี 2540 คุณ สงวนศักดิ์ ตั้งสากล ได้เข้าร่วมบริหารงานการตลาดต้นกล้วยไม้เพื่อส่งออก
ลักษณะเด่น
เป็นสวนกล้วยไม้ที่รวบรวมกล้วยไม้หลากหลายสายพันธุ์ทั้งกล้วยไม้ไทยและเทศ เพื่อส่งออก เหมาะสำหรับนักสะสมกล้วยไม้และผู้ที่ต้องการถ่ายภาพเพื่อชมความงาม มีต้นกล้วยไม้ในสวนแห่งนี้รวมกันประมาณ 1,000,000 ต้น
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
เรือนจำชั่วคราวดอยฮาง สังกัดเรือนจำกลางเชียงราย ดำเนินการตามโครงการในพระราชดำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ในการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในเรือนจำ เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปใช้ได้จริงภายหลังพ้นโทษ เป็นการสร้างกำลังใจให้กับผู้ต้องขังและยังทำให้ผู้ต้องขังได้มีโอกาสในการกลับคืนสู่สังคม โดยมีทักษะที่สามารถดำรงชีวิตที่พึ่งตนเองได้ไม่หวนกลับไปกระทำผิดอีก ในปัจจุบัน เรือนจำชั่วคราวดอยฮาง เป็นศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เปิดให้บริการเข้าเยี่ยมชมการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และเป็นจุด Check in ที่สำคัญของนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปที่เข้ามาใช้บริการ
เชียงราย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมาเป็นเวลานาน ก่อนคำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (BIOLOAGICAL DIVERSITY)”และอนุรักษ์ (COUSERVATION) จะเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย จากการเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปี พ.ศ. 2503 เมื่อเสด็จผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทอดพระเนตรเห็น ต้นยางนาขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมาก ทรงมีพระราชทานให้เก็บเมล็ดพันธุ์ยางนาไปเพาะที่ตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน และนำต้นยางนาที่เพาะได้ นำมาปลูก ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ทรงมีพระราชทานพระราชดำริให้ทำการอนุรักษ์ต้นขนุนในพระบรมมหาราชวัง และได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พรรณไม้ ในพระราชวังต่างๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ทรงมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หวายรวมทั้งดำเนินการจัดสร้างสวนสมุนไพรในโครงการสวนพระองค์ ฯ สวนจิตรลดา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามพระบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยทรงมีพระราชดำริกับท่านเลขาธิการพระราชวัง ให้มีการดำเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ ในเดือน มิถุนายน 2535 ซึ่งมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้จัดสร้างธนาคารพืชพรรณสำหรับเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรวมทั้งการศึกษาที่มิใช่พืชเศรษฐกิจให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยนำพระราชดำริ มาเป็นกรอบในการดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายสุจินต์ ภูนิคม กำนันตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และคณะได้ประสานงานหารือกับผู้อำนวยการบริษัทอุลตร้าโปรดักส์ จำกัด และเกษตรกรจังหวัดชุมพรในการนำพื้นที่สาธารณะประโยชน์ซึ่งตั้ง ณ หมู่ที่ 6 ตำบลสลุย (ปัจจุบัน หมู่ที่ 5,6 ตำบลสลุย และ หมู่ที่ 4 ,7 ตำบลสองพี่น้อง) เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ซึ่งขณะนั้น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาก็กำลังจัดหาพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาทางโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยศาสตราจารย์พิเศษประชิด วามานนท์ (ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์) พร้อมคณะได้เดินทางมาพบผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายประยูร พรหมพันธุ์) เพื่อปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการโดยใน ระยะ 5 ปี แรกได้ใช้ ชื่อโครงการว่า “โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณไม้ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร” โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จึงได้ทำโครงการเสนอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรและได้จัดส่งเอกสารโครงการไปยังผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อโปรดนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองพระบาทในโอกาสอันสมควรและทางโครงการส่วนพระองค์ได้แจ้งตอบรับ เรื่องการนำโครงการอนุรักษ์พันธุไม้และพิพัฒน์พรรณพืชฯ จังหวัดชุมพร ทราบฝ่าละอองพระบาท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2536 และในการดำเนินโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ผนวกโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และพิพัฒน์พรรณพืชของจังหวัดชุมพร เข้ากับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริในส่วนกลางมีดร.พิศิษฐ์ วรอุไร เป็นประธานคณะกรรมการ และจากการประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 ที่ประชุมมีมติเปลี่ยนชื่อโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร เป็นชื่อ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
ชุมพร
สวนองุ่นแวงเดอร์เรย์ (Vin De Ray) เป็นสวนองุ่นที่คัดสรรพันธุ์องุ่นสำหรับการผลิตไวน์โดยเฉพาะ พิกัด : https://goo.gl/maps/TAiSBmBywwVD5ek86
สระบุรี
สวนดอกไม้มากาเร​็ต(ถ้ำปลา)​ ที่ตั้งอยู่ก่อนถึงลานจอดรถถ้ำปลา​ประมาณ 50​ เมตร​ ทางซ้ายมือ เนื้อที่ใช้ปลูกประมาณ ​2 ไร่​ ปลูกดอกไม้ทั้งหมด 3 ชนิด​ คือ​ ดอกมากาเร​็​ต, ดอกคัตเตอร์, ดอกผักเซี่ยงฝรั่งฯ
แม่ฮ่องสอน
สนใจท่องเที่ยวชุมชน ติดต่อได้ที่ ผู้ใหญ่มัทนา ศรอารา (ผู้ใหญ่เก๋) หมายเลขโทรศัพท์ 081-8803732
กาญจนบุรี
ดำเนินการโดยชุมชน กิจกรรม นั่งรถอีโก่งไปท่าเรือ ลงเรือ พายเรือ ล่องเรือ ชมสวนส้มโอ ทำกิจกรรมในสวนส้มโอ เช่นการขยายพันธุ์ส้มโอ การติดตา ต่อกิ่งส้มโอ ฟังการบรรยายความรู้เรื่องการปลูก การบริหารจัดการสวนส้มโอ การตลาดส้มโอ การชิมส้มโอ การรับประทานอาหารพื้นบ้าน เช่น ตำหมากโอ การบายศรีสู่ขวัญต้อนรับนักท่องเที่ยว การแสดงรำวงสาวบ้านแต้ แสดงโดยเยาวชนในแหล่งท่องเที่ยว และการพักโฮมสเตย์ โปรแกรมการท่องเที่ยว: 1 เที่ยว 1 วัน ราคา 350 บาท/คน กิจกรรม ต้อนรับนักท่องเที่ยว นำนั่งรถอีโก่ง ลงเรือ ล่องเรือตามลำน้ำพรม ชมธรรมชาติ ขึ้นชมสวนส้มโอ รับประทานอาหารกลางวัน/อาหารว่างและเครื่องดื่ม ซื้อสินค้าในสวน ส่งนักท่องเที่ยวกลับ 2 เที่ยว 2 วัน 1 คืน ราคา 990 บาท/คน วันที่ 1 ต้อนรับนักท่องเที่ยว นำดูงานที่ศูนย์เรียนรู้แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร รับประทานอาหารกลางวันที่ศูนย์บริการต้อนรับนักท่องเที่ยว นั่งรถอีโก่ง ลงเรือ ล่องเรือตามลำน้ำพรม ชมธรรมชาติ ขึ้นชมสวนส้มโอ ร่วมกิจกรรมในสวน รับประทานอาหารเย็นศูนย์บริการต้อนรับนักท่องเที่ยว ร่วมพิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับนักท่องเที่ยว ชมการแสดงรำวงสาวบ้านแต้ ของเยาวชนในแหล่งท่องเที่ยว ร่วมกิจกรรมนันทนาการกับแหล่งท่องเที่ยว รำวงสาวบ้านแต้ เข้าพักโฮมสเตย์ วันที่ 2 รับประทานอาหารเช้า ที่ศูนย์บริการต้อนรับนักท่องเที่ยว ซื้อของฝากของที่ระลึก ส่งนักท่องเที่ยวกลับ เส้นทางเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ: 1 หาดน้ำพรม ระยะทาง 5 กม. 2 แก่งตาดไซ ระยะทาง 9 กม.
ชัยภูมิ
บ้านมณีพฤกษ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 11 ตำบลงอบ อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน เป็นหมู่บ้านชาวเขาเผ่าม้งและเผ่าลั๊วะ สภาพภูมิประเทศที่ตั้ง หมู่บ้านเป็นภูเขาสูง ตั้งอยู่ในระดับความสูงที่ 1,200 – 1,400 เมตร
น่าน
เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เชื่อมโยงกับบ้านศาลาดิน
นครปฐม
ทุ่งดอกไม้แห่งใหม่ที่สวยงามไม่แพ้กับที่จังหวัดเชียงใหม่เลย ที่ไร่เมล๋อน ชากังราวจังหวัดกำแพงเพชรสวนดอกไม้เปิดใหม่ที่ตำบลเขาคีรีส อำเภอพรานกระต่าย ซึ่งกำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจากนักท่องเที่ยว
กำแพงเพชร
-ชม ชิม ช็อป สินค้าชุมชนตลาดน้ำท่าคา (ตลาดน้ำมีทุกวันเสาร์ อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ และทุกวันขึ้นและแรม 2 ค่ำ 7 ค่ำ และ 12 ค่ำ) -ลงเรือพายชมธรรมชาติริมฝั่งคลอง ไปตามเส้นทางเสด็จประพาสต้น ร.5 ณ บ้านกำนันจัน เป็นบ้านเรือนไทยเก่าแก่ (จองก่อนเข้าชมบ้านกำนันจัน) -เยี่ยมชมกิจกรรมชุมชน ร่วมทำกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ต่างๆของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ตลาดน้ำท่าคาจากเรื่องราวของมะพร้าว ชมภูมิปัญญาการทำน้ำตาลมะพร้าว ได้แก่ - การขึ้นเก็บน้ำตาลมะพร้าวจากต้น - การเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าวแบบโบราณ - เติมความหวาน เรียนรู้การทำขนมโบราณจากน้ำตาลมะพร้าวท่าคา - การจักสานก้านมะพร้าว ภูมิปัญญาดั้งเดิมของคนท่าคา - การจักสานทางมะพร้าวสด นำมาสานเป็นหมวก ตะกร้า ฯลฯ - เรือดุ๊กดิ๊กจากกาบมะพร้าว
สมุทรสงคราม
บ้านใหม่พัฒนา​ จ.น่าน ชุมชนต้นแบบตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและสุขภาพด้วยสมุนไพรรอบตัวเป็นชุมชนเล็กบนที่ราบสูง มีลำน้ำเกี๋ยนไหลผ่าน ชาวบ้านในท้องถิ่นมีวิถีการดำรงชีวิตอย่างเรียบง่ายส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
น่าน
เรียนรู้การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ และจำหน่ายผักไฮโดรโปนิกส์
ระยอง