คำค้นยอดฮิต: ข้าวเหนียวมะม่วง ของขวัญออแกนิค ผลไม้สด
TH | EN
฿ 0.00
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนท้ายโขดบ้านตรอกสัตบรรณ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนท้ายโขดบ้านตรอกสัตบรรณ หมู่4 ตำบลหนองละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง
Image
Image
Image
Image
สภาพอากาศวันนี้
อยู่ในเวลาปิดทำการ
วันเวลาทำการ
• วันอาทิตย์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันจันทร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันอังคาร
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพุธ
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันพฤหัสบดี
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันศุกร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
• วันเสาร์
: 09:00 น. - 16:00 น.
หมายเหตุ
: -
แผนที่และพิกัดที่ตั้ง
คะแนนรีวิว
0
ความพร้อมสถานที่
0
ความคุ้มค่า
0
การให้บริการ
0
อ่านทั้งหมด >
รายละเอียด
ศูนยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ไร่นาสวนผสม การแปรรูปผลผลิตการเกษตร
ประวัติความเป็นมา
จัดตั้งขึ้นมาโดยการรวมตัวของชุมชน ม.4 ต.หนองละลอก อ.บ้านค่าย จ.ระยอง เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่สนใจจะศึกษาดูงาน ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของศูนย์การเรียนรู้ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง
ลักษณะเด่น
การเรียนรู้ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง
ที่มาข้อมูล
Thailand Tourism Directory
ข้อมูลแนะนำ
ราคาค่าเข้าชม
• ราคาค่าเข้าชม: ไม่มีค่าใช้จ่าย
• หมายเหตุ : -
รีวิว (0)
0
จาก 5.0
ความพร้อมสถานที่
ความคุ้มค่า
การให้บริการ
แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่คล้ายกัน
เรียนรู้การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ และจำหน่ายผักไฮโดรโปนิกส์
ระยอง
เป็นแปลงรวบรวมพันธุ์ไม้หอมกว่า 100 ชนิด และสมุนไพรพื้นถิ่นภาคอีสาน
หนองคาย
เดิมชื่อ “สวนเกษตรศิริ” เป็นสวนยางพาราผสมสวนผลไม้มากว่า 40 ปีแล้ว มีพื้นที่ ประมาณ 2,000 ไร่ ภูมิประเทศเป็นหุบเขา มีลำธารน้ำไหลผ่าน 3 สาย อุดมสมบูรณ์ ตลอดปี ต่อมาได้ถูกพัฒนาพื้นที่บางส่วนให้เป็นพื้นที่จัดสรร และใช้ชื่อโครงการว่า โครงการ “THE PARK” ที่มีการตกแต่งภูมิสถาปัตย์อย่างสวยงาม และมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน มีที่พัก ที่ทำกิจกรรม สวนผลไม้ แล้วยังมีร้านอาหารด้วยนะคะ กับกาแฟสด เครื่องดืม ขนม ของว่าง
ระยอง
บุบเฟ่ต์ผลไม้ การทำกะราง ข้าวตังพื้นบ้าน การสานเสื่อคล้า รำตัดเด็ก
ระยอง
ชมสวนผลไม้ ชิมผลไม้สดจากสวน
ระยอง
ไร่คุณมนเป็นสวนเกษตรแบบผสมผสาน สวนผักปลอดสารพิษและโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นานาชนิด อาทิ น้ำนมข้าวโพด น้ำผัก กล้วย/ขนุนอบแห้ง กระยาสารทเคลือบน้ำผัก ลูกชิ้นข้าวโพด ไอศกรีมน้ำนมข้าวโพด อาหารชีวจิตเพื่อสุขภาพ เตาเผาถ่านอิวาติ และศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาไทย บนพื้นที่ 150 ไร่ ด้วยเครื่องจักรอันทันสมัย โปรแกรมการท่องเที่ยว เรียนรู้กิจกรรมตามฐานต่างๆ 1.ฐานผลิตน้ำนมข้าวโพด 2.ฐานผลิตไอศครีมน้ำนมข้าวโพด 3.ฐานเก็บข้าวโพดสดจากไร่ 4.ฐานสกัดน้ำมันงา 5.ฐานสกัดน้ำส้มควันไม้และเตาเผาถ่านอิวาเตะ 6.ฐานทำลูกประคบ 7.บ้านดิน เส้นทางเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ (พร้อมระยะทาง/กม.) สะพานข้ามแม่น้ำแคว, สุสารสัมพันธมิตร ระยะทาง 25 กิโลเมตร วัดถ้ำเสือ ระยะทาง 30 กิโลเมตร ต้นจามจุรียักษ์ ระยะทาง 30 กิโลเมตร สินค้าวิสาหกิจชุมชนในชุมชน น้ำนมข้าวโพด น้ำมันงา กล้วยอบสุญญากาศ
กาญจนบุรี
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมาเป็นเวลานาน ก่อนคำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ (BIOLOAGICAL DIVERSITY)”และอนุรักษ์ (COUSERVATION) จะเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย จากการเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับ ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในปี พ.ศ. 2503 เมื่อเสด็จผ่านอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ทอดพระเนตรเห็น ต้นยางนาขนาดใหญ่ขึ้นเป็นจำนวนมาก ทรงมีพระราชทานให้เก็บเมล็ดพันธุ์ยางนาไปเพาะที่ตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน และนำต้นยางนาที่เพาะได้ นำมาปลูก ในสวนจิตรลดา เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ทรงมีพระราชทานพระราชดำริให้ทำการอนุรักษ์ต้นขนุนในพระบรมมหาราชวัง และได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พรรณไม้ ในพระราชวังต่างๆ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ทรงมีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์หวายรวมทั้งดำเนินการจัดสร้างสวนสมุนไพรในโครงการสวนพระองค์ ฯ สวนจิตรลดา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามพระบรมราชกุมารี ทรงสืบต่องานอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยทรงมีพระราชดำริกับท่านเลขาธิการพระราชวัง ให้มีการดำเนินการอนุรักษ์พืชพรรณของประเทศ ในเดือน มิถุนายน 2535 ซึ่งมีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้จัดสร้างธนาคารพืชพรรณสำหรับเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรวมทั้งการศึกษาที่มิใช่พืชเศรษฐกิจให้มีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยนำพระราชดำริ มาเป็นกรอบในการดำเนินการ เมื่อปี พ.ศ. 2536 นายสุจินต์ ภูนิคม กำนันตำบลสลุย อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และคณะได้ประสานงานหารือกับผู้อำนวยการบริษัทอุลตร้าโปรดักส์ จำกัด และเกษตรกรจังหวัดชุมพรในการนำพื้นที่สาธารณะประโยชน์ซึ่งตั้ง ณ หมู่ที่ 6 ตำบลสลุย (ปัจจุบัน หมู่ที่ 5,6 ตำบลสลุย และ หมู่ที่ 4 ,7 ตำบลสองพี่น้อง) เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ซึ่งขณะนั้น โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาก็กำลังจัดหาพื้นที่เพื่อจัดทำโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อมาทางโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยศาสตราจารย์พิเศษประชิด วามานนท์ (ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์) พร้อมคณะได้เดินทางมาพบผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร (นายประยูร พรหมพันธุ์) เพื่อปรึกษาหารือในการจัดทำโครงการโดยใน ระยะ 5 ปี แรกได้ใช้ ชื่อโครงการว่า “โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณไม้ ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร” โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จึงได้ทำโครงการเสนอความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพรและได้จัดส่งเอกสารโครงการไปยังผู้อำนวยการโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เพื่อโปรดนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองพระบาทในโอกาสอันสมควรและทางโครงการส่วนพระองค์ได้แจ้งตอบรับ เรื่องการนำโครงการอนุรักษ์พันธุไม้และพิพัฒน์พรรณพืชฯ จังหวัดชุมพร ทราบฝ่าละอองพระบาท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2536 และในการดำเนินโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาได้ผนวกโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และพิพัฒน์พรรณพืชของจังหวัดชุมพร เข้ากับโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริในส่วนกลางมีดร.พิศิษฐ์ วรอุไร เป็นประธานคณะกรรมการ และจากการประชุมกรรมการ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 ที่ประชุมมีมติเปลี่ยนชื่อโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้และพิพัฒน์พรรณพืช ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร เป็นชื่อ “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดชุมพร”
ชุมพร
แปลงเรียนรู้ไม้ดอกเมืองหนาว - กล้วยไม้ซิมบิเดียมตัดดอก - แปลงทิวลิป แปลงเรียนรู้ไม้หอม - โรสแมรี่ - เจอราเนียม แปลงเรียนรู้การปลูกพืชเชิงอนุรักษ์บนพื้นที่สูง - อะโวคาโด - กาแฟอาราบิก้า - แมคคาเดเมีย รูปแบบวิธีการจัดกิจกรรม - มีจุดถ่ายรูป ลานจอดรถ ห้องน้ำ ให้บริการ - เดินชมแปลงเรียนรู้ (ไม้ดอก , ไม้หอม , พืชอนุรักษ์) พร้อมเรียนรู้การเพาะขยายพันธุ์ และการปลูก/ดูแลรักษา - มีจุดจำหน่ายสินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์, พืชผัก, ไม้ผล, พืชไร่ - มีบริการเครื่องดื่ม กาแฟ ชาเจียวกูหลาน - มีบริการบ้านพัก / จุดกางเต้นท์ การมีส่วนร่วมของนักท่องเที่ยว - ชม ชิม ช้อป สินค้าชุมชน ผลิตภัณฑ์กระเป๋า ของที่ระลึก สินค้าเกษตร ไม้ผลเมืองหนาว พืชไร่ พืชผักตามฤดูกาล - ถ่ายรูป เช็คอิน แปลงไม้ดอก/ทิวลิป - เดินชมแปลงเรียนรู้ภายในศูนย์ฯ - ดื่มด่ำบรรยากาศทะเลหมอกในฤดูหนาวของจังหวัดเชียงราย โปรแกรมการท่องเที่ยว: โปรแกรม 2 วัน 1 คืน วันที่หนึง 09.30 ออกเดินทางจากท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้าหลวง เชียงราย เดินทางสู่ไร่เชิญตะวัน 10.00 แวะรับทานอาหารเช้า ณ ร้าน “ภูเทียนรีสอร์ท” / “จุ๋ยกุ้งเผา” 11.00 ไร่เชิญตะวัน ศึกษาธรรมะกับแนวคิดมหาวิชชาลัยพุทธเศรษฐศาสตร์ (สถาบันการศึกษาทางเลือก เพื่อการพัฒนาตามปรัชญาพุทธเศรษฐศาสตร์) เกษตรธรรมชาติแบบครบวงจร 12.00 ออกเดินทางจากไร่เชิญตะวัน แวะรับประทานอาหาร ณ ร้าน “ลานนาตะวันวา” 13.00 ชมการสาธิตการคั่วชาอัสสัมและการทำเมี่ยง แบบดั่งเดิมโดยชุมชนเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนผลิตชาแม่ลอย 14.00 ออกเดินทางจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตชาแม่ลอย สู่ไร่รื่นรมย์ ต.งิ้ว อ.เทิง 14.30 ชมความงดงามของฟาร์มออแกนิคโดยคนรุ่นใหม่ รับประทานอาหารว่าง จากไร่จากแปลงเกษตรอินทรีย์โดยตรงเพื่อสุขภาพเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ ทั้งหลักการและการลงมือทำ 15.00 ออกเดินทางจากไร่รื่นรมย์ สู่ศูนย์ฯ ดอยผาหม่น 17.00 รับประทานอาหารค่ำแบบชนเผ่า ปิ้งย่าง กิจกรรมรอบกองไฟ พร้อมชมการแสดงจากกลุ่มยุวเกษตรกรชาติพันธุ์ ศิลปวัฒนธรรมชนเผ่าจากชุมชน ท่ามกลางธรรมชาติและอาทิตย์อัสดง วันที่สอง 04.30 ตื่นนอน ทำภารกิจส่วนตัว 05.00 เดินทางสู่ยอดภูชี้ฟ้า ชื่นชมทัศนียภาพอันงดงามตามธรรมชาติ ขุนเขาและทะเลหมอก 06.00 เดินทางกลับสู่ ศูนย์ฯ ดอยผาหม่น 07.00 รับประทานอาหารเช้า 08.00 รื่นเริงกับกิจกรรมทางการเกษตรของศูนย์ฯ ดอยผาหม่น ชมแปลงไม้หอม ดอกทิวลิป ชมความงดงามของแปลง ซิมบีเดียม และแปลงเรียนรู้การปลูกกาแฟ อโวคาโด และแมคคาเดเมีย ชิมกาแฟสด คุณภาพสูงจากเกษตรกรผู้ผลิต 12.00 พักรับทานอาหารกลางวัน 13.00 เดินทางสู่กลุ่มผู้ผลิตกาแฟอินทรีย์บ้านบ้านพิทักษ์ไทย 13.30 เดินชมแปลงกาแฟอินทรีย์กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตกาแฟอินทรีย์บ้านพิทักษ์ไทย ร่วมศึกษากรรมวิธีการปลูกกาแฟอินทรีย์คุณภาพดี ซื้อสินค้าที่ระลึกจากชุมชนชาติพันธุ์ 14.30 เดินทางสู่หอนาฬิกาจังหวัดเชียงราย แลนด์มาร์คที่สำคัญของจังหวัดเชียงราย 16.00 ซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน อาหารพื้นเมือง ของฝาก ของที่ระลึก เส้นทางเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น ๆ: 1) ภูชี้ฟ้า ต.ตับเต่า อ.เทิง ระยะทาง 11 ก.ม 2) ผาตั้ง ต.ปอ อ.เวียงแก่น ระยะทาง 36 ก.ม 3) ดอยชมดาว ต.ตับเต่า อ.เทิง ระยะทาง 6 ก.ม
เชียงราย
กิจกรรมให้ลูกค้าได้เที่ยวมี 3 ส่วนหลักๆ ดังนี้ - คาเฟ่มีสุข มีอาหารและเครื่องดื่มให้บริการ เมนูแนะนำคือ "กฤษณากาแฟ" ที่เราใช้ส่วนผสมจากกฤษณาสกัดมาเป็นหัวใจในเครื่องดื่มนี้ นอกจากความหอมเฉพาะตัวแล้วยังเต็มเปี่ยมไปด้วยคุณค่าสรรพคุณต่างๆมากมาย มีอาหารถิ่นที่สร้างสรรค์ขึ้นจากชุมชนเพื่อให้ลูกค้าได้เข้าถึงวิถีชีวิตท้องถิ่นดั้งเดิมของมีสุขฟาร์ม สัมผัสบรรยากาศของป่ากฤษณาที่มีอายุกว่า30ปี เป็นป่าผสมผสานที่ได้รับรางวัลเกษตรกรแห่งชาติ บนพื้นที่กว่า200ไร่ เติมพลังแห่งความสุขกับธรรมชาติที่หาไม่ได้ทั่วไป - ถ่ายรูปสวยๆ เช็คอินในมีสุขฟาร์ม - ข้ามสะพานมีสุขเพื่อทิ้งความทุกข์และเก็บความสุขกลับไป - ให้อาหารน้องปลาบึก - ให้อาหารน้องหมูป่า - ชมน้องแพะและน้องกระบือภายในฟาร์ม - ภายเรือคายัก ในทะเลสาบมีสุข
ระยอง
พระธาตุก่องข้าวน้อย ตั้งอยู่ในทุ่งนา ตำบลตาดทอง เป็นเจดีย์เก่าสมัยขอม สร้างในพุทธศตวรรษที่ 23-25 ตรงกับสมัยอยุธยาตอนปลาย ตั้งอยู่ในเขตวัดพระธาตุก่องข้าวน้อย ซึ่งแต่เดิมเป็นเพียงทุ่งนาในเขตตำบลตาดทอง พระธาตุก่องข้าวน้อยเป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูน รูปทรงแปลกไปจากเจดีย์โดยทั่วไป คือมีลักษณะเป็นก่องข้าว องค์พระธาตุเป็นเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สาม ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างด้านละ 2 เมตร ก่อสูงขึ้นไปประมาณ 1 เมตร ช่วงกลางขององค์พระธาตุมีลวดลายทำเป็นซุ้มประตูทั้งสี่ด้าน ถัดจากช่วงนี้ไปเป็นส่วนยอดของเจดีย์ที่ค่อยๆ สอบเข้าหากัน ส่วนยอดรอบนอกของพระธาตุก่องข้าวน้อยมีกำแพงอิฐล้อมรอบขนาด 55 เมตร นอกจากนี้บริเวณด้านหลังพระธาตุมีพระพุทธรูปอยู่องค์หนึ่งก่อด้วยอิฐ ชาวบ้านนับถือว่าศักดิ์สิทธิ์มาก และในเดือนห้าจะมีผู้คนนิยมมาสรงน้ำพระและปิดทอง เชื่อกันว่าถ้าไม่ทำเช่นนี้ฝนจะแล้งในปีนั้น นอกจากนี้ที่บริเวณบ้านตาดทอง กรมศิลปากรได้ดำเนินการขุดค้นเรื่องราวของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ได้ค้นพบโครงกระดูกมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และภาชนะลายเขียนสีแบบบ้านเชียง
ยโสธร
สวนดอกไม้มากาเร​็ต(ถ้ำปลา)​ ที่ตั้งอยู่ก่อนถึงลานจอดรถถ้ำปลา​ประมาณ 50​ เมตร​ ทางซ้ายมือ เนื้อที่ใช้ปลูกประมาณ ​2 ไร่​ ปลูกดอกไม้ทั้งหมด 3 ชนิด​ คือ​ ดอกมากาเร​็​ต, ดอกคัตเตอร์, ดอกผักเซี่ยงฝรั่งฯ
แม่ฮ่องสอน